Mind Mapping
ขอบเขตเนื้อหากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่
๓ ปีการศึกษา
๒๕๕๘
Quarter 1
สาระ/หลักภาษา
|
Quarter
2
สาระ/หลักภาษา
|
Quarter 3
สาระ/หลักภาษา
|
Quarter 4
สาระ/หลักภาษา
|
๑. ชนิดของคำ (คำกริยา คำนาม
คำสรรพนาม
คำวิเศษณ์ คำอุทาน คำบุพบท คำสันทาน)
๒. มา ตราตัวสะกดตรงมาตราไม่ตรงมาตรา
๓. คำประวิสรรชนีย์ คำไม่ประวิสรรชนีย์
๔.สระคงรูป สระลดรูป สระเปลี่ยนรูป
๕. ควบแท้ ควบไม่แท้
๖. อักษรสามหมู่
๗. การผันอักษร
๘. การเขียนย่อความสรุปเรื่อง
๙. มารยาทในการฟัง การดู และการพูด
|
๑. ภาษาพูด ภาษาเขียน
๒. คำที่มี รร หัน
๓. ตัวการันต์
๔.คำพ้องรูป พ้องเสียง
๕. อักษรนำ
๖. เครื่องหมายวรรคตอน
๗. คำที่มักเขียนผิด
๘. การใช้เลขไทย
๙. ภาษาไทย ภาษาถิ่น คำสุภาพ
๑๐.คำที่มี ฤ ฤา
๑๑. แต่งเรื่องตามจินตนาการ
๑๒. มารยาทการฟัง
พูด อ่าน เขียน
|
๑. คำเป็น คำตาย
๒. คำอุทาน คำตรงกันข้าม
๓. อักษรย่อ
๔. ปริศนาคำทายและบทร้องเล่น
๕. การเขียนเรียงความ
๖. ประโยค (ประโยคบอกเล่า ประโยคปฏิเสธ ประโยคคำถาม ประโยคขอร้อง ประโยคคำสั่ง)
๗. การเขียนบันทึกความรู้
๘. การเขียนจดหมาย (จดหมายส่วนตัว จดหมายขอโทษ จดหมายแสดงความขอบคุณ
จดหมายแสดงความเห็นใจ
จดหมายแสดงความยินดี)
๙. คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
๑๐. การเขียนบรรยาย พรรณนา
๑๑. แต่งเรื่องตามจินตนาการ
|
๑. บทร้อยกรอง บทร้อยแก้ว
๒. คำคล้องจอง
๓. คำราชาศัพท์
๔. การใช้พจนานุกรม
๕. การเขียนบทกลอน (กลอนสี่)
๖. บทอาขยาน
๗. นิทานพื้นบ้าน นิทานคติธรรม
๘ .การใช้ภาษาในการแสวงหาความรู้
๙. คำขวัญ สำนวน สุภาษิต
๑๐. การวิจารณ์บทประพันธ์
๑๑. มารยาทการฟัง พูด อ่าน เขียน
|
วรรณกรรม
-
นิทานจากดวงดาว
-
นิทานเอกนานาชาติ
|
วรรณกรรม
- เจ้าชาย
-
ความสุขของกะทิ
|
วรรณกรรม
- เจ้าชายน้อย
- ชาร์ล็อต แมงมุมเพื่อนรัก
|
วรรณกรรม
นิทานพื้นบ้าน
|
เวลาเรียน ๑๑ สัปดาห์ (๕๕ ชั่วโมง)
|
เวลาเรียน ๙ สัปดาห์ (๔๕ชั่วโมง)
|
เวลาเรียน ๙ สัปดาห์ (๔๕ ชั่วโมง)
|
เวลาเรียน ๑๐ สัปดาห์ (๕๐ ชั่วโมง)
|
ขอบข่ายเนื้อหาการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ Quarter
2 ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
สัปดาห์
|
วรรณกรรมเรื่อง /ตอน
|
ความเข้าใจ (แก่นวรรณกรรม)
|
หลักภาษา
|
เป้าหมายของการเรียนรู้หลักภาษา
|
1
|
สรุปความรู้ก่อนเรียน
คาดเดาเนื้อเรื่องจากวรรณกรรม
หนังล้อมผ้าและความสุขของกะทิ
|
คาดเดาเรื่องจากประโยคที่อยู่บนปก
รูปภาพ ได้อย่างสร้างสรรค์ อีกทั้งสามารถนำความรู้ที่เคยเรียนรู้มาเขียนอธิบายให้คนอื่นเข้าใจได้
|
มารยาทการฟัง พูด อ่าน เขียน
|
นักเรียนมีมารยาทในการอ่าน การฟัง การพูด
การเขียนที่เหมาะสม สามารถพิจารณาคุณค่าของวรรณกรรมได้
|
2
|
หนังล้อมผ้า ตอน เบ็ดกบ
|
ทุกชีวิตเกิดมาเพื่อเกื้อกูลซึ่งกันและกัน
ธรรมชาติจัดสรรให้ทุกอย่างเป็นไปอย่างสมดุล
|
ภาษาพูด ภาษาเขียน คำสุภาพ
|
นักเรียนมีทักษะทางภาษาในการสื่อสาร
เลือกใช้ภาษาพูดและเขียนได้ถูกต้องเหมาะสม
|
3
|
หนังล้อมผ้า ตอน ลาวลวง
|
สังคมเรามีความแตกต่างหลากหลาย
ไม่มีสิ่งใดเหมือนกัน เราควรยอมรับในความแตกต่าง
และดำรงชีวิตภายใต้ความแตกต่างนั้นอย่างมีความสุข
|
ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถิ่น
|
นักเรียนสื่อสารผ่านภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น
อีกทั้งสามารถเลือกใช้ภาษาสุภาพได้
|
4
|
ความสุขของกะทิ “บ้านริมคลอง”
|
สังคมที่อยู่ในชนบท มีวิถีชีวิตที่ไม่เร่งรีบ
อยู่กับธรรมชาติ ทำให้ผู้คนมีจิตใจที่ดี ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน
|
การใช้เลขไทย
เครื่องหมายวรรคตอน
|
นักเรียนสามารถเลือกใช้ตัวเลขไทยให้เหมาะสมกับโอกาส
และนำเครื่องหมายวรรคตอนไปใช้ในรูปประโยคได้ถูกต้องเหมาะสม
|
5
|
หนังล้อมผ้า ตอน หนังล้อมผ้า
|
วิถีชีวิตของคนในชนบทเป็นความเรียบง่าย
แต่เมื่อมีความเจริญเข้ามาทำให้เราหลงลืมหน้าที่ตนเอง เราจะดำรงชีวิตอย่างไรให้อยู่ได้อย่างมีความสุข
|
คำที่มักเขียนผิด
แต่งเรื่องตามจินตนาการ
|
นักเรียนสามารถอ่าน
และเขียนคำที่มักเขียนผิดบ่อยๆ อีกทั้งอ่านและเขียนได้อย่างถูกต้อง
เลือกใช้คำได้ถูกต้องตามความหมาย
|
6
|
ความสุขของกะทิ “บ้านชายทะเล”
|
ทุกคนเกิดมาย่อมมีเรื่องราวต่างๆ
เข้ามาในชีวิต เมื่อเราเจอปัญหาแล้ว หากเรียนรู้ที่จะอยู่กับสิ่งนั้นและค่อยๆ
แก้ปัญหา แล้วเราจะพบกับทางออกและความสุขที่แท้จริง
|
ตัวการันต์
คำที่มี รร หัน
แต่งเรื่องตามจินตนาการ
|
นักเรียนสามารถอ่าน
เขียนคำที่มีตัวการันต์ คำที่มี รร หัน และ รร หันการันต์ รวมทั้งนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง
|
7
|
ความสุขของกะทิ “บ้านกลางเมือง”
|
การยอมรับความจริง ทำความเข้าใจ ยอมรับการตัดสินใจของคนรอบข้างที่ย่อมมีเหตุผลของแต่ละบุคคล
ย่อมทำให้เรามีความสุขกับสิ่งที่เขาได้ทำด้วย
|
คำพ้องรูป พ้องเสียง
คำที่มี ฤ ฤา
|
นักเรียนสามารถอ่าน และเขียนคำพ้องรูป และพ้องเสียง คำที่มี ฤ ฤา อีกทั้งอ่านและเขียนได้อย่างถูกต้อง
เลือกใช้คำได้ถูกต้องตามความหมาย
|
8
|
หนังล้อมผ้า ตอน ดงคนดี
|
สังคมเรามีความแตกต่างหลากหลาย
เราจะดำรงชีวิตภายใต้ความแตกต่างนั้นอย่างมีความสุข
|
อักษรนำ
แต่งประโยคสร้างสรรค์
|
นักเรียนอ่าน เขียน คำที่เป็นอักษรนำ
ได้ถูกต้อง พูดแสดงความคิดเห็น
บอกความหมาย ความแตกต่างของอักษรนำได้
|
9
|
สรุปทบทวนองค์ความรู้
|
คุณค่าของวรรณกรรมและการนำไปใช้
|
สรุปองค์ความรู้
|
นักเรียนสามารถสรุปองค์ความรู้วรรณกรรม และถ่ายทอดองค์ความรู้นั้นได้
|
ปฏิทินการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
Quarter
2 ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
Week
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
1
|
วรรณกรรมเรื่อง
- ความสุขของกะทิ
-
หนังล้อมผ้า
หลักภาษา
-
คาดเดาเรื่อง
-
ทบทวนความรู้
-
การเขียนอย่างสร้างสรรค์
|
-
ทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับภาษาไทยได้เรียนรู้ผ่านมาใน
Quarter 1 และสิ่งที่อยากเรียนใน Quarter 2
-
รู้จักหนังสือวรรณกรรมที่จะได้เรียนรู้
ผ่านการเล่า ดูภาพ คำถามจากครู
-
เขียนคาดเดาเรื่องพร้อมวาดภาพประกอบ
-
นำเสนอสิ่งที่คาดเดา
-
เขียนเรียงความถึงแม่
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับพระคุณของแม่ - นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน
-
เขียนเรื่องราวหรือเรียงความของแม่
-
Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
-
คาดเดาเรื่องวรรณกรรม
“ความสุขของกะทิ” และ “หนังล้อมผ้า
-
|
ความรู้
เข้าใจและอธิบายองค์ความรู้ของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจ
สามารถคาดเดาคาดคะเนเรื่องราวหรือเหตุการณ์ได้
รวมทั้งบอกเล่าอธิบายเรื่องราวให้คนอื่นฟังไดอ่านวรรณกรรมและสามารถอธิบายแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสาระสำคัญของเรื่องที่ต้องการสื่อสาร
อีกทั้งลำดับเรื่องราวและใจความสำคัญของเรื่องได้ มีมารยาทในการพูด ฟังและอ่าน
สามารถเขียนเรื่องราวได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
- คิดสร้างสรรค์ภาพประกอบคำศัพท์ หรือแง่มุมใหม่ที่ได้จากการอ่าน - สื่อสารกับผู้อื่น การนำเสนองาน - ทำงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อน
-
เขียนแต่งประโยค เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
-
จัดการข้อมูล
สรุปและนำเสนอความเข้าใจของตนเองให้ผู้อื่นทราบได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- สังเคราะห์ข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ตนเองรับรู้ได้
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
|
2
|
วรรณกรรมเรื่อง
หนังล้อมผ้า
ตอน “เบ็ดกบ
หลักภาษา
-
ภาษาพูด
ภาษาเขียน
-
คำสุภาพ
|
- อ่านหนังสือวรรณกรรม
หนังล้อมผ้า ตอน “เบ็ดกบ” เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
-
นักเรียนสรุปเรื่องย่อ
วาดภาพประกอบ
-
นำวรรณกรรมมาเชื่อมโยงกับตัวเอง
(นักเรียนเคยทำเหมือนตัวละครใดบ้าง ทำอย่างไร
นักเรียนคิดว่าที่บ้านของเราเหมือนหรือต่างอย่างไรกับในวรรณกรรม
-
เชื่อมโยงสู่หลักภาษา
โดยครูนำบัตรคำ และคำจากในวรรณกรรมที่เป็นภาษาพูดเขียนบนกระดาน
และนักเรียนช่วยคิดว่า มีคำไหนที่ใช้แทนได้บ้าง
-
สนทนาและเปลี่ยนเกี่ยวกับการใช้ภาษาพูดและเขียน
-
นักเรียนแต่งประโยคที่เป็นภาษาเขียนและนำเสนอเป็นภาษาพูด
-
ครูเขียนคำสุภาพบนการดาน
นักเรียนช่วยการหาความหมายของคำ
-
นักเรียนแต่งการ์ตูนช่องภาษาพูดและภาษาเขียน
-
ทบทวนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้มาทั้งสัปดาห์
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการตัวละครจากเรื่องที่ได้อ่าน
- วิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับพฤติกรรม
นิสัยของตัวละครแต่ละตัว
-
ค้นคว้าหาคำที่เป็นภาษาพูด
ภาษาเขียนและคำสุภาพ
- นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน
-
สรุปเรื่องย่อ
วาดภาพประกอบ
-
เรื่องราวและตัวละครที่อยากให้เปลี่ยนในวรรณกรรม
-
ประโยคภาษาพูดและภาษาเขียน
-
นิทาน/การ์ตูนช่องภาษาพูดและภาษาเขียน
-
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
นักเรียนสามารถอ่านออกเสียง
และสามารถอธิบายความหมาย ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด สามารถอธิบายความหมายและการนำคำที่เป็นภาษาพูด ภาษาเขียน คำสุภาพไปใช้ในเหตุการณ์ต่างๆ อีกทั้งนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ทักษะ
- คิดสร้างสรรค์ภาพประกอบคำศัพท์ หรือแง่มุมใหม่ที่ได้จากการอ่าน - สื่อสารกับผู้อื่น การนำเสนองาน - ทำงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อน
-
เขียนแต่งประโยค เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
-
จัดการข้อมูล
สรุปและนำเสนอความเข้าใจของตนเองให้ผู้อื่นทราบได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- สังเคราะห์ข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ตนเองรับรู้ได้
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
|
3
|
วรรณกรรมเรื่อง
หนังล้อมผ้า
ตอน “ลาวลวง”
หลักภาษา
-
ภาษาไทยมาตรฐาน
-
ภาษาถิ่น
|
- อ่านหนังสือวรรณกรรม
หนังล้อมผ้า ตอน “ลาวลวง” เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
-
นักเรียนแต่งตอนจบใหม่ให้สมบูรณ์
-
นำวรรณกรรมมาเชื่อมโยงกับตัวเอง
(นักเรียนเคยทำเหมือนตัวละครใดบ้าง ทำอย่างไร
นักเรียนคิดว่าที่บ้านของเราเหมือนหรือต่างอย่างไรกับในวรรณกรรม
-
ครูนำบัตรคำ
ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่น มาให้นักเรียนจับคู่กัน
-
สนทนาพูดคุยเกี่ยวกับการนำภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถิ่น ใช้ในชีวิตประจำวัน
-
นักเรียนแต่งการ์ตูนช่องภาษาไทยมาตรฐาน
และนำเสนอเป็นละครภาษาถิ่นให้เหมาะสม
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการตัวละครจากเรื่องที่ได้อ่าน
- วิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับพฤติกรรม
นิสัยของตัวละครแต่ละตัว
- นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน
-
แต่งตอนจบใหม่
-
การ์ตูนช่อง
ละคร ภาษา
-
สรุปการเรียนรู้การใช้ภาษา
|
ความรู้
นักเรียนสามารถอ่านออกเสียง
และสามารถอธิบายความหมาย ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด อีกทั้งอธิบายการเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิ่นได้อย่างเหมาะสมสร้างสรรค์
ทักษะ
- คิดสร้างสรรค์ภาพประกอบคำศัพท์ หรือแง่มุมใหม่ที่ได้จากการอ่าน - สื่อสารกับผู้อื่น การนำเสนองาน - ทำงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อน
-
เขียนแต่งประโยค เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
-
จัดการข้อมูล
สรุปและนำเสนอความเข้าใจของตนเองให้ผู้อื่นทราบได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- สังเคราะห์ข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ตนเองรับรู้ได้
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
|
4
|
วรรณกรรมเรื่อง
ความสุขของกะทิ
ตอน “บ้านริมคลอง”
หลักภาษา
-
การใช้เลขไทย
-
เครื่องหมายวรรคตอน
|
-
อ่านหนังสือวรรณกรรม
ความสุขของกะทิ ตอน “ปิ่นโต กะละมังกับไม้หนีบผ้า เรืออีแปะ ศาลาริมน้ำ” เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
-
เขียนสรุปเรื่องที่ได้อ่านและอ่านและฟังแบบ Mind Mapping
-
นำวรรณกรรมมาเชื่อมโยงกับตัวเอง
(ทำไมตัวละครจึงทำอย่างนั้น ถ้าเป็นนักเรียนจะทำอย่างไร ประโยคนี้ต้องการบอก
-
เชื่อมโยงวรรณกรรมสื่อหลักภาษา เลขไทย
เครื่องหมายวรรคตอน ที่มีในวรรณกรรม เช่น ตัวเลข และ เครื่องหมาย “”
นักเรียนสังเกต เคยเจอที่ไหน หมายความว่าอย่างไร”
-
นักเรียนค้นหาข้อมูล
และความหมายของการใช้เครื่องหมายวรรคตอนต่างๆ
-
นักเรียนนำเครื่องมายต่างไปใช้ในนิทานสร้างสรรค์
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับพฤติกรรม นิสัยจากเรื่องที่ได้อ่าน
- วิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับการนำไปปรับใช้ในชีวิต
- นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน
-
เขียนแต่งเรื่องจากชื่อตอนบ้านริมคลอง
-
การใช้เครื่องหมายวรรคตอนแต่ละชนิด
-
สรุปการใช้เครื่องหมายวรรคตอน
|
ความรู้
นักเรียนสามารถอ่านออกเสียง
และสามารถอธิบายความหมาย ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด อีกทั้งอธิบายการใช้เลขไทย
เครื่องหมายวรรคตอน นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
- คิดสร้างสรรค์ภาพประกอบคำศัพท์ หรือแง่มุมใหม่ที่ได้จากการอ่าน - สื่อสารกับผู้อื่น การนำเสนองาน - การทำงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อนๆ
-
เขียนแต่งประโยค เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- เป็นนักอ่าน รักการอ่าน
-
เห็นอกเห็นใจผู้อื่น ไม่อหังการ
|
5
|
วรรณกรรมเรื่อง
หนังล้อมผ้า
ตอน “หนังล้อมผ้า”
หลักภาษา
-
คำที่มักเขียนผิด
-
เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
|
-
อ่านหนังสือวรรณกรรม
หนังล้อมผ้า ตอน “หนังล้อมผ้า” เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
-
นักเรียนเขียนแผนภาพโครงเรื่อง
-
นักเรียนเขียนคำศัพท์ตามคำบอก
หาความหมาย และการนำไปใช้
-
นำคำศัพท์มาแต่งประโยคสร้างสรรค์
-
นักเรียนแยกบัตรคำที่เขียนถูก
และผิด หรือแยกตามความคิดของตนเอง
-
สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการแยกคำศัพท์
เพราะเหตุใด
-
นำคำศัพท์ที่เขียนผิดมาเขียนใหม่
พร้อมวาดรูปให้ความหมายของคำ
-
นักเรียนศึกษาค้นคว้าหาคำที่มักเขียนผิด
เขียนคำที่ถูกต้อง แล้วทำเป็นบัตรคำนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจ
-
นักเรียนทบทวนและสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์แบบบรรยาย
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับพฤติกรรม นิสัยจากเรื่องที่ได้อ่าน
- วิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับการนำไปปรับใช้ในชีวิต
- นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน
-
สรุปแผนภาพโครงเรื่องวาดภาพประกอบ
-
บัตรคำที่มักเขียนผิด
-
เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์คำที่มักเขียนผิด
-
สรุปการเรียนรู้ในสัปดาห์นี้
|
ความรู้
นักเรียนสามารถอ่านออกเสียง
และสามารถอธิบายความหมาย ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด อีกทั้งอธิบายคำที่มักเขียนผิด นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
- คิดสร้างสรรค์ภาพประกอบคำศัพท์ หรือแง่มุมใหม่ที่ได้จากการอ่าน - สื่อสารกับผู้อื่น การนำเสนองาน - การทำงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อนๆ
-
เขียนแต่งประโยค เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- เป็นนักอ่าน
รักการอ่าน
-
เห็นอกเห็นใจผู้อื่น ไม่อหังการ
|
6
|
วรรณกรรมเรื่อง
ความสุขของกะทิ
ตอน “บ้านชายทะเล”
หลักภาษา
-
ตัวการันต์
-
คำที่มี รร
-
แต่งเรื่องตามจินตนาการ
|
-
อ่านหนังสือวรรณกรรม
ความสุขของกะทิ ตอน “บ้านชายทะเล” เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
-
นักเรียนแต่งตอนจบใหม่
“บ้านชายทะเล”
-
เชื่อมโยงทะเลกับสิ่งมีชีวิต
ระบบนิเวศน์ของทะเล กิจกรรมที่ทำที่ทะเล สถานที่หรือทะเลที่นักเรียนรู้จัก
-
นักเรียนแต่งตามจินตนาการ
เกี่ยวกับทะเล
-
ครูเขียนคำศัพท์ที่มีตัวการันต์ในวรรณกรรมที่อ่าน
นักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนคำที่มีตัวการันต์
-
นักเรียนค้นหาคำศัพท์ที่มีตัวการันต์จากวรรณกรรม
-
นักเรียนนำคำศัพท์ที่มีตัวการันต์แต่งเรื่องนิทานตามจินตนาการ
-
นักเรียนทบทวนและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
|
ภาระงาน
- อ่านวิเคราะห์วรรณกรรม เชื่อมโยงสู่การนำไปปรับใช้กับตนเอง
- ศึกษาค้นคว้าคำการันต์จากเรื่องที่อ่าน
- วิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดหมวดหมู่คำศัพท์ คำชนิดต่างๆ
- สรุปการเรียนรู้ (เลือกตามความสนใจ)
ชิ้นงาน
- แต่งตอนจบใหม่
- ประโยคสร้างสรรค์
- เรื่องสร้างสรรค์จากคำการันต์
|
ความรู้:
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง
และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล
เข้าใจสามารถนำคำการันต์ และ รร
มาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด สามารถอ่านและฟังนิทาน
เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
การเลือกใช้เครื่องมือในการการคิดวิเคราะห์ข้อมูล สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
ทักษะการคิด
- การคิดเชื่อมโยงเรื่องที่อ่านกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- การคิดวิเคราะห์และสื่อความหมายบัตรคำและเชื่อมโยงมาปรับใช้ในงานเขียนของตนเองได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายเกี่ยวกับความหมายของประโยคความเดียว ความรวม
และอ่านจับใจความสำคัญเรื่องที่อ่านแล้วถ่ายทอดด้วยการเล่า
เขียนสรุป บันทึก ให้คนอื่นรับทราบได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
-
มีการรวบรวมข้อมูลและการวางแผนทำชิ้นงานสอดคล้องของเนื้อหาและ
กิจกรรมที่ได้เรียนรู้
-
มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเองจนสำเร็จ
-ทำงานร่วมกับผู้อื่นรู้บทบาทหน้าที่ของตนเองเคารพ
รับฟังความคิดเห็น
คุณลักษณะ:
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- สังเคราะห์ข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ตนเองรับรู้ได้
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
|
7
|
วรรณกรรมเรื่อง
ความสุขของกะทิ
ตอน “บ้านกลางเมือง”
หลักภาษา
-
คำพ้องรูป พ้องเสียง
-
คำที่มี ฤ
ฤา
|
-
อ่านหนังสือวรรณกรรม
ความสุขของกะทิ ตอน “บ้านกลางเมือง” เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
-
นักเรียนเขียนแผนภาพโครงเรื่อง“บ้านกลางเมือง”
-
เชื่อมโยงบ้านกับนักเรียน
ถ้าคิดถึงบ้านนักเรียนนึกถึงอะไรบ้าง องค์ประกอบของบ้าน
นักเรียนจะทำอย่างไรให้บ้านมีความสงบสุข ให้บ้านเป็นที่พักอาศัย พักผ่อน
-
นักเรียนเชื่อมโยงคำศัพท์กับสิ่งที่เกี่ยวข้องกับบ้าน
-
ครูนำบัตรคำ
พ้องรูป พ้องเสียง เช่น ซ่อม-ส้อม,
ซิ่น-สิ้น, สระ, เพลา นักเรียนสังเกต อ่าน แล้วนำคำไปใส่ในประโยค
นักเรียนจะอ่าน/เลือกคำเหล่านี้ในประโยคใดบ้าง
-
นักเรียนแต่งประโยคจากคำพ้องรูปและพ้องเสียง
-
ครูและนักเรียนสนทนาพูดคุยเกี่ยวกับคำศัพท์
ฤ ฤา
-
นักเรียนแต่งนิทานสร้างสรรค์
-
นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้เรียนทั้งสัปดาห์และการนำวรรณกรรมและหลักภาษาไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการตัวละครจากเรื่องที่ได้อ่าน
- วิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับพฤติกรรม
นิสัยของตัวละครแต่ละตัว
- นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน
-
แผนภาพโครงเรื่องบ้างกลางเมือง
-
แต่งเรื่องบ้านกลางเมืองและบ้านกลางทุ่ง
-
แต่งประโยค
-
แต่งเรื่องสร้างสรรค์
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
นักเรียนสามารถอ่านออกเสียง
และสามารถอธิบายความหมาย ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด อีกทั้งอ่าน
เขียนอธิบายการใช้คำพ้องรูป
พ้องเสียง คำที่มี ฤ ฤา สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์
ทักษะ
- คิดสร้างสรรค์ภาพประกอบคำศัพท์ หรือแง่มุมใหม่ที่ได้จากการอ่าน - สื่อสารกับผู้อื่น การนำเสนองาน - ทำงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อน
-
เขียนแต่งประโยค เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
-
จัดการข้อมูล
สรุปและนำเสนอความเข้าใจของตนเองให้ผู้อื่นทราบได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- สังเคราะห์ข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ตนเองรับรู้ได้
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
|
8
|
วรรณกรรมเรื่อง
หนังล้อมผ้า
ตอน “ดงคนดี”
หลักภาษา
-
อักษรนำ
-
แต่งประโยคสร้างสรรค์
|
-
อ่านหนังสือวรรณกรรม
หนังล้อมผ้า ตอน “ดงคนดี” เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
-
นักเรียนสรุปย่อเรื่องที่ได้อ่าน
-
นักเรียนเขียนคำศัพท์ตามคำบอก
หาความหมาย และการนำไปใช้
-
นำคำศัพท์มาแต่งประโยคสร้างสรรค์
-
นักเรียนแบ่งกลุ่มกันเล่นเกม
โดยครูจะให้อักษร นำ เช่น อย หร หว นักเรียนเขียนคำศัพท์ให้มากที่สุด
-
นักเรียนนำคำศัพท์มาแต่ประโยคให้สมบูรณ์
-
ครูนำบัตรคำมาให้นักเรียนสังเกต
เช่น ขนม ผสม ตลาด นักเรียนคิดคำศัพท์เพิ่มเติม
-
นักเรียนนำคำศัพท์มาแต่งเป็นนิทานสร้างสรรค์
-
นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการตัวละครจากเรื่องที่ได้อ่าน
- วิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับพฤติกรรม
นิสัยของตัวละครแต่ละตัว
- นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน
-
แต่งตอนจบใหม่
-
แต่งประโยค
-
Web อักษรนำ
-
ใบงานอักษรนำ
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
นักเรียนสามารถอ่านออกเสียง
และสามารถอธิบายความหมาย ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด อีกทั้งอธิบายเกี่ยวกับการอ่าน
และเขียนอักษรนำ นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ
- คิดสร้างสรรค์ภาพประกอบคำศัพท์ หรือแง่มุมใหม่ที่ได้จากการอ่าน - สื่อสารกับผู้อื่น การนำเสนองาน - ทำงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อน
-
เขียนแต่งประโยค เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
-
จัดการข้อมูล สรุปและนำเสนอความเข้าใจของตนเองให้ผู้อื่นทราบได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- สังเคราะห์ข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ตนเองรับรู้ได้
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
|
9
|
สรุปและทบทวนองค์ความรู้
|
-
นักเรียนสนทนาพูดคุยเกี่ยวกับคุณค่าของวรรณกรรม
“หนังล้อมผ้า” และ “ความสุขของกะทิ”
-
ครูและนักเรียนสนทนาทบทวนความรู้หลักภาษาที่ได้เรียนรู้มาทั้ง
Quarter 2
-
นักเรียนสรุปองค์ความรู้ที่ได้เรียนมา
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าของวรรณกรรมและทบทวนความรู้ทางหลักภาษา
- วิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับการนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ทั้ง Quarter ไปในชีวิตประจำวัน
- นำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
ชิ้นงาน
สรุปความรู้หลังเรียนภาษาไทย
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้ในเรื่องที่เรียนในQuarter ๒ และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ สามารถสรุปใจความและสาระสำคัญของหนังสือที่อ่านและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งเข้าใจในหลักภาษาที่ได้เรียนทั้ง
Quarter ๒ สามารถอธิบาย
หลักภาษาที่ได้เรียนทั้ง Quarter ๒ ได้
ทักษะ
- คิดสร้างสรรค์ภาพประกอบคำศัพท์ หรือแง่มุมใหม่ที่ได้จากการอ่าน - สื่อสารกับผู้อื่น การนำเสนองาน - การทำงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อนๆ
-
เขียนแต่งประโยค เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- เป็นนักอ่าน
รักการอ่าน
-
เห็นอกเห็นใจผู้อื่น ไม่อหังการ
|
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้กับมาตรฐานและตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ Quarter 2 ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา
๒๕๕๘
หน่วยการเรียน “วรรณกรรม หนังล้อมผ้าและความสุขของกะทิ”
สัปดาห์
ว/ด/ป |
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้ |
การอ่าน
ท ๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑ |
การฟัง ดู
และพูด
ท ๓.๑ |
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.๑ |
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑ |
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๑
|
หน่วยการเรียนรู้
วรรณกรรม
สาระ/หลักภาษาไทย
ทบทวนความรู้
การคาดเดาเรื่อง
วรรณกรรม
|
ป.๓/๑ อ่านออกเสียงคำ ข้อความหรือ เรื่องสั้นๆได้อย่างถูกต้อง
ป.๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่าน
ป.๓/๔ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่จะอ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ
ป๓/๙ มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๓/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๓/๓ เขียนบันทึกประจำวัน
ป.๓/๖ มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๓/๑ เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๓/๒ บอกสาระสำคัญจากการฟังและการดู
ป.๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะฟังและดู
ป.๓/๖ มีมารยาทในการฟัง
การดู และการพูด
|
ป.๓/๑ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของชนิดของคำได้
ป.๓/๔ เรียบเรียงคำชนิดของคำ นำมาแต่งประโยคง่ายๆ
|
ป.๓/๓ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวสิ่งที่ได้อ่านและและฟัง
|
นักเรียนเข้าใจและอธิบายองค์ความรู้ของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจ
สามารถคาดเดาคาดคะเนเรื่องราวหรือเหตุการณ์ได้
รวมทั้งบอกเล่าอธิบายเรื่องราวให้คนอื่นฟังไดอ่านวรรณกรรมและสามารถอธิบายแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสาระสำคัญของเรื่องที่ต้องการสื่อสาร
อีกทั้งลำดับเรื่องราวและใจความสำคัญของเรื่องได้ มีมารยาทในการพูด
ฟังและอ่าน สามารถเขียนเรื่องราวได้อย่างสร้างสรรค์
|
สัปดาห์ที่
๒
|
หน่วยการเรียนรู้
หนังล้อมผ้า
ตอน “เบ็ดกบ”
สาระ/หลักภาษาไทย
-
ภาษาพูด
ภาษาเขียน
-
คำสุภาพ
|
ป.๓/๑ อ่านออกเสียงคำ ข้อความหรือ
เรื่องสั้นๆได้อย่างถูกต้อง
ป.๓/๒ อธิบายความหมายของคำที่เป็นภาษาพูด ภาษาเขียน และคำสุภาพ
ป.๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่านได้
ป.๓/๔ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่จะอ่าน
และระบุเหตุผลประกอบ
ป.๓/๕ สรุปความรู้ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ป.๓/๙ มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๓/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๓/๕ เขียนแต่งประโยคแต่งเรื่องตามจินตนาการ
ป.๓/๖ มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๓/๑ เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๓/๒ บอกสาระสำคัญจากการฟังและการดู
ป.๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะฟังและดู
ป.๓/๖ มีมารยาทในการฟัง
การดู และการพูด
|
ป.๓/๑ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำที่ภาษาพูด ภาษาเขียน และคำสุภาพได้
ป.๓/๔ เรียบเรียงคำภาษาพูด ภาษาเขียน และคำสุภาพนำมาแต่งประโยคง่ายๆ ได้อย่างสร้างสรรค์
|
ป.๓/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่าน/ฟังวรรณกรรม
ป.๓/๓ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวสิ่งที่ได้อ่าน
|
นักเรียนสามารถอ่านออกเสียง และสามารถอธิบายความหมาย ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน
การฟัง การดู และการพูด สามารถอธิบายความหมายและการนำคำที่เป็นภาษาพูด ภาษาเขียน
คำสุภาพไปใช้ในเหตุการณ์ต่างๆ อีกทั้งนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
|
สัปดาห์ที่
๓
|
หน่วยการเรียนรู้
หนังล้อมผ้า
ตอน “ลาวลวง”
สาระ/หลักภาษาไทย
-
ภาษาไทยมาตรฐาน
-
ภาษาถิ่น
|
ป.๓/๑ อ่านออกเสียงคำ ข้อความหรือ
เรื่องสั้นๆได้อย่างถูกต้อง
ป.๓/๒ อธิบายความหมายของชนิดของภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น
ป.๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่านได้
ป.๓/๔ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่จะอ่าน
และระบุเหตุผลประกอบ
ป.๓/๕ สรุปความรู้ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ป.๓/๙ มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๓/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๓/๕ เขียนแต่งประโยคแต่งเรื่องตามจินตนาการ
ป.๓/๖ มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๓/๑
เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๓/๒
บอกสาระสำคัญจากการฟังและการดู
ป.๓/๓
ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะฟังและดู
ป.๓/๖ มีมารยาทในการฟัง
การดู และการพูด
|
ป.๓/๑
เขียนสะกดคำและบอกความหมายของชนิดของภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้
ป.๓/๔ เรียบเรียงคำที่เป็นภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นนำมาแต่งประโยคง่ายๆ
ป.๓/๖
เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
|
ป.๓/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่าน/ฟังวรรณกรรม
ป.๓/๓
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวสิ่งที่ได้อ่าน
|
นักเรียนสามารถอ่านออกเสียง และสามารถอธิบายความหมาย ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน
การฟัง การดู และการพูด อีกทั้งอธิบายการเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิ่นได้อย่างเหมาะสมสร้างสรรค์
|
สัปดาห์ที่
๔
|
หน่วยการเรียนรู้
ความสุขของกะทิ
ตอน “บ้านริมคลอง”
สาระ/หลักภาษาไทย
หลักภาษา
-
การใช้เลขไทย
-
เครื่องหมายวรรคตอน
|
ป.๓/๑ อ่านออกเสียงคำ ข้อความที่มีเครื่องหมายวรรคตอน
เลขไทยหรือ เรื่องสั้นๆได้อย่างถูกต้อง
ป.๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่าน
ป.๓/๔ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่จะอ่าน
ป.๓/๕ สรุปความรู้ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน
ป.๓/๖
อ่านหนังสือด้วยความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่านได้
ป.๓/๙ มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๓/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๓/๓ เขียนบันทึกประจำวัน
ป.๓/๕ เขียนแต่งประโยคแต่งเรื่องตามจินตนาการ
ป.๓/๖ มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๓/๑ เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะฟังและดู
ป.๓/๖ มีมารยาทในการฟัง
การดู และการพูด
|
ป.๓/๑ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
เลือกใช้เครื่องหมายวรรคตอนได้เหมาะสม
ป.๓/๔ เรียบเรียงคำเลือกใช้เครื่องหมายวรรคตอนได้
|
ป.๓/๑
บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่าน/ฟังวรรณกรรม
|
นักเรียนสามารถอ่านออกเสียง และสามารถอธิบายความหมาย ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน
การฟัง การดู และการพูด อีกทั้งอธิบายการใช้เลขไทย
เครื่องหมายวรรคตอน นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์
|
สัปดาห์ที่
๕
|
หน่วยการเรียนรู้
หนังล้อมผ้า
ตอน “หนังล้อมผ้า”
สาระ/หลักภาษาไทย
- คำที่มักเขียนผิด
- เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
|
ป.๓/๑ อ่านออกเสียงคำ ข้อความที่มักเขียนผิดหรือเรื่องสั้นๆได้อย่างถูกต้อง
ป.๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่าน
ป.๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่าน
ป.๓/๔ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่จะอ่าน
ป.๓/๕ สรุปความรู้ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน
ป.๓/๖
อ่านหนังสือด้วยความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่านได้
ป.๓/๙ มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๓/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๓/๒ เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้อย่างชัดเจน
ป.๓/๓ เขียนบันทึกประจำวัน
ป.๓/๕ เขียนแต่งประโยคแต่งเรื่องตามจินตนาการ
ป.๓/๖ มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๓/๑
เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๓/๓
ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะฟังและดู
ป.๓/๖ มีมารยาทในการฟัง
การดู และการพูด
|
ป.๓/๑
เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำที่มักเขียนผิด
ได้
ป.๓/๔
เรียบเรียงคำที่มักเขียนผิดแต่งประโยคง่ายๆ
|
ป.๓/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่าน/ฟังวรรณกรรม
ป.๓/๓ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
|
นักเรียนสามารถอ่านออกเสียง และสามารถอธิบายความหมาย ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน
การฟัง การดู และการพูด อีกทั้งอธิบายคำที่มักเขียนผิด นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์
|
สัปดาห์ที่
๖
|
หน่วยการเรียนรู้
ความสุขของกะทิ
ตอน “บ้านชายทะเล”
สาระ/หลักภาษาไทย
-
ตัวการันต์
-
คำที่มี รร
-
แต่งเรื่องตามจินตนาการ
|
ป.๓/๑
อ่านออกเสียงคำและข้อความที่มีตัวการันต์ คำที่มี รรได้อย่างถูกต้อง
ป.๓/๒
อธิบายความหมายของคำและข้อความที่มีตัวการันต์ คำที่มี รรได้
ป.๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่าน
ป.๓/๔ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่จะอ่าน
ป.๓/๕ สรุปความรู้ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน
ป.๓/๖
อ่านหนังสือด้วยความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่านได้
ป.๓/๙ มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๓/๑
เขียนคัดลายมือคำและข้อความที่มีตัวการันต์ คำที่มี รร
ป.๓/๓ เขียนบันทึกประจำวัน
ป.๓/๕
เขียนแต่งประโยคแต่งเรื่องตามจินตนาการ
ป.๓/๖ มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๓/๑
เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๓/๒ บอกสาระ
สำคัญจากการฟังและการดู
ป.๓/๓
ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.๓/๔ พูดแสดงความคิดเห็นและอธิบายความหมายของคำและข้อความที่มีตัวการันต์
คำที่มี รรได้
ป.๓/๕
พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์
ป.๓/๖ มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด
|
ป.๓/๑
เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำที่มีตัวการันต์ คำที่มี รรได้
ป.๓/๔
เรียบเรียงคำที่มีตัวการันต์ คำที่มี รร หัน มาแต่งประโยคง่ายๆ
|
ป.๓/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านฟังวรรณกรรม
ป.๓/๓ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณกรรม ความสุขของกะทิ ตอน “บ้านชายทะเล”
|
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้
จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน
อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำคำการันต์ และ รร
มาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด สามารถอ่านและฟังนิทาน
เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
|
สัปดาห์ที่
๗
|
หน่วยการเรียนรู้
ความสุขของกะทิ
ตอน “บ้านกลางเมือง”
สาระ/หลักภาษาไทย
-
คำพ้องรูป พ้องเสียง
-
คำที่มี ฤ
ฤา
|
ป.๓/๑ อ่านออกเสียงคำและข้อความที่เป็นคำพ้องรูป
พ้องเสียงและคำที่มี ฤ ฤา หรือ เรื่องสั้นๆได้อย่างถูกต้อง
ป.๓/๒ อธิบายความหมายของคำพ้องรูป พ้องเสียงและคำที่มี ฤ ฤา ได้
ป.๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่าน
ป.๓/๔ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่จะอ่าน
ป.๓/๕ สรุปความรู้ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน
ป.๓/๖
อ่านหนังสือด้วยความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่านได้
ป.๓/๙ มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๓/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๓/๓ เขียนบันทึกประจำวัน
ป.๓/๕
เขียนแต่งประโยคแต่งเรื่องตามจินตนาการ
ป.๓/๖ มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๓/๑
เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๓/๒
บอกสาระสำคัญจากการฟังและการดู
ป.๓/๓
ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะฟังและดู
ป.๓/๖ มีมารยาทในการฟัง
การดู และการพูด
|
ป.๓/๑ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำพ้องรูป
พ้องเสียงและคำที่มี ฤ ฤา ได้
ป.๓/๔ เรียบเรียงคำพ้องรูป
พ้องเสียงและคำที่มี ฤ ฤา แต่งประโยคง่ายๆ
|
ป.๓/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่าน/ฟังวรรณกรรม
ป.๓/๓
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวสิ่งที่ได้อ่าน
|
นักเรียนสามารถอ่านออกเสียง และสามารถอธิบายความหมาย ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน
การฟัง การดู และการพูด อีกทั้งอ่าน เขียนอธิบายการใช้คำพ้องรูป
พ้องเสียง คำที่มี ฤ
ฤา สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์
|
สัปดาห์ที่
๘
|
หน่วยการเรียนรู้
หนังล้อมผ้า
ตอน “ดงคนดี”
สาระ/หลักภาษาไทย
-
อักษรนำ
-
แต่งประโยคสร้างสรรค์
|
ป.๓/๑ อ่านออกเสียงคำและข้อความที่มีอักษรนำ หรือเรื่องสั้นๆได้อย่างถูกต้อง
ป.๓/๒ อธิบายความหมายของคำที่เป็นอักษรนำ
ป.๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่าน
ป.๓/๔ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่จะอ่าน
ป.๓/๕ สรุปความรู้ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน
ป.๓/๖
อ่านหนังสือด้วยความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่านได้
ป.๓/๙ มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๓/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๓/๓ เขียนบันทึกประจำวัน
ป.๓/๕ เขียนแต่งประโยคแต่งเรื่องสร้างสรรค์ตามจินตนาการ
ป.๓/๖ มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๓/๑
เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๓/๒
บอกสาระสำคัญจากการฟังและการดู
ป.๓/๓
ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะฟังและดู
ป.๓/๖ มีมารยาทในการฟัง
การดู และการพูด
|
ป.๓/๑
เขียนสะกดคำและบอกความหมายของอักษรนำได้
ป.๓/๔
เรียบเรียงคำที่สะกดด้วยอักษรนำแต่งประโยคง่ายๆ
|
ป.๓/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่าน/ฟังวรรณกรรม
ป.๓/๓
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวสิ่งที่ได้อ่าน
|
นักเรียนสามารถอ่านออกเสียง และสามารถอธิบายความหมาย ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
รวมทั้งสามารถนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน
การฟัง การดู และการพูด อีกทั้งอธิบายเกี่ยวกับการอ่าน
และเขียนอักษรนำ นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์
|
สัปดาห์ที่
๙
|
หน่วยการเรียนรู้
สรุปและทบทวนองค์ความรู้
สาระ/หลักภาษาไทย
ทบทวนหลักภาษา
|
ป.๓/๑ อ่านออกเสียงคำและข้อความหรือ เรื่องสั้นๆได้อย่างถูกต้อง
ป.๓/๒ อธิบายความหมายคำ
ป.๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับที่จะอ่าน
ป.๓/๔ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่จะอ่าน
ป.๓/๕ สรุปความรู้ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน
ป๓/๙ มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๓/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๓/๒ เขียนบรรยายเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านได้อย่างชัดเจน
ป.๓/๓ เขียนบันทึกประจำวัน
ป.๓/๖ มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๓/๑ เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๓/๒ บอกสาระสำคัญจากการฟังและการดู
ป.๓/๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะฟังและดู
ป.๓/๔ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๓/๕ พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์
ป.๓/๖ มีมารยาทในการฟัง
การดู และการพูด
|
ป.๓/๑ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
ป.๓/๒ ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๓/๔ เรียบเรียงคำและนำมาแต่งประโยคง่ายๆ
|
ป.๓/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านและฟังวรรณกรรม
ป.๓/๓ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวสิ่งที่ได้อ่าน
|
นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้ในเรื่องที่เรียนในQuarter
๒ และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ สามารถสรุปใจความและสาระสำคัญของหนังสือที่อ่านและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งเข้าใจในหลักภาษาที่ได้เรียนทั้ง
Quarter ๒ สามารถอธิบาย
หลักภาษาที่ได้เรียนทั้ง Quarter ๒ ได้
|